top of page
ค่าพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง

            ค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญ คือค่าต่างๆที่เกิดขึ้นจากตัวสาย เช่น ค่า R L C และค่าอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในสาย และ การนำไปใช้งาน

schematic-layout-3.png
1-14-2021 12-26-22 PM.jpg
loc_eps_impedance_matching.gif
images.png
Twin-Lead-Transmission-Line.jpg

R  คือค่าความต้านทานของตัวนำทองแดง หรือ วัสดุที่ใช้นำสัญญาณ

L คือค่า อินดัคตีฟรีแอคแตนซ์ (Inductive Reaectance )

C คือค่า คาปาซิตีฟรีแอคแตนซ์ (Capacitive Reacetance )

G คือค่าความนำ ที่เกิดระหว่างตัวนำ

schematic-layout-3.png

ค่ามาตรฐานของสายจากผู้ผลิต

1-16-2021 9-06-51 AM.jpg

ในสายนำสัญญาณนั้นคลื่นวิทยุจะเดินทางได้ช้ากว่าในบรรยากาศและจะช้ากว่าความเร็วแสง

            ซึ่งความเร็วของคลื่นในสายนำสัญยาณนี้จะสำพันธ์กับค่าคงที่ของวัสดุที่นำมาใช้เป็นฉนวนภายในสาย (Dielectric Constant) ค่าความเร็วนี้มาจากอัตราส่วนของ ความเร็วในสาย ต่อ ความเร็วในชั้นบรรยากาศ ซึ่งจะบอกเป็นเปอร์เซนต์ของความเร็วแสง โดยทั่วไปแล้วความเร็วในสายนำสัญญาณเราจะเรียกว่า ตัวคูณความเร็วของสาย เช่นสาย RG-58 A/U มีค่าตัวคูณความเร็วเท่ากับ 0.66 ดังนั้นความเร็วในสายคือ 0.66 X (3X108) หรือเท่ากับ 1.98 X 108เมตร/วินาที

1-16-2021 9-23-07 AM.jpg

           เมื่อนำสายนำสัญญาณมาใช้งานปกติตัวคูณความเร็วของสายก็แทบไม่ต้องสนใจ แต่ถ้านำสายนำสัญญาณมาใช้เพื่อต่อขนานสายอากาศหลาย ๆ ต้นเข้าเป็นชุด เช่นในสายอากาศยากิแบบหลาย ๆ สแต็ก หรือสายอากาศไดโพลแบบหลาย ๆ ห่วง สายนำสัญญาณที่นำมาใช้งานแบบนี้เรียกว่าสาย Phasing Line ซึ่งจะต้องคำนวณความยาวที่ใช้กับความยาวคลื่น

unnamed (3).jpg
12-30-2020 1-16-16 PM.jpg
RG-style-coax-types.png
bottom of page